สกัดความรู้ : การอนุมัติคำร้องรายวิชาเทียบโอนสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา และการอนุมัติรายวิชาสำหรับคณะกรรมการอนุมัติ

KM HEC RMUTP New logo

ถ่ายทอดความรู้ (คุณกิจ)  โดย

คุณคเณศ  เจ๊ะแล

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

 

คุณลิขิต และคุณวิศาสตร์ :

อ.นฤศร  มังกรศิลา  หัวหน้างานจัดการความรู้ ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

          จากที่กระผมได้มีโอกาสเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการดำเนินงานกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ เรื่อง การยื่นคำร้องออนไลน์ : การขอเทียบโอนรายวิชา โดยผ่านสื่อิเล็กทรอนิกส์ (Online) วันอังคารที่ 6 กรกฎาคม ๒๕64 ณ ห้องประชุมออนไลน์ Google Meet (รหัส ndm-qjrr-yep) ของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ สามารถสรุปประเด็นสำคัญ ดังนี้

การอนุมัติคำร้องรายวิชาเทียบโอนสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา และการอนุมัติรายวิชาสำหรับคณะกรรมการอนุมัติ  

         1.วิธีการการเข้าสู่ระบบบริการการศึกษา (reg.rmutp.ac.th) สามารถเข้าถึงได้ 2 ช่องทาง คือ 1) ช่องทางผ่านเว็บไซต์มหาวิทยาลัย หัวข้อ “นักศึกษา” เลือก “ระบบบริการการศึกษา” และ 2) พิมพ์ชื่อเว็บไซต์ระบบบริการ….




บันทึกเรื่องเล่า : ชุมชนคนโชติเวช เรื่อง การจัดการความรู้แบบพลวัต 5.0

KM HEC RMUTP New logo

ถ่ายทอดความรู้ (คุณกิจ)  โดย

รองศาสตราจารย์ นาวาโทหญิง ดร.ชมสุภัค ครุฑกะ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รองศาสตราจารย์ ดร.อภิชา  แดงจำรูญ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รองศาสตราจารย์ ดร.ศยามน  อินสะอาด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 

คุณลิขิต และคุณวิศาสตร์ :

อ.นฤศร  มังกรศิลา  หัวหน้างานจัดการความรู้ ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

    จากที่กระผมได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการนำองค์ความรู้มาเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงาน เรื่อง นโยบายการจัดการความรู้ 3 กลุ่ม สู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน วันอังคารที่ 23 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมกรมหลวงฯ ชั้น 6 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สามารถสรุปประเด็นสาคัญ ดังนี้

ภาคเช้า
รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศโทหญิง ดร.ชมสุภัค ครุฑกะ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การจัดการความรู้กับภารกิจที่ท้าทาย ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่เข้ามาสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับองค์กรในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงการระบาดไวรัสโควิด-19 ระลอก 3 ดังนั้น….

อ่านเพิ่มเติม ได้ที่ลิงค์นี้ –>> การจัดการความรู้แบบพลวัต 5.0

เครดิตภาพ : LinkedIn

 




::: บันทึกเรื่องเล่า ::: กลุ่ม ชุมชนคนวิจัย เรื่อง การยกร่างคำขอสิทธิบัตรอย่างไรให้รอบเดียวผ่าน

KM HEC RMUTP New logo

ถ่ายทอดความรู้ (คุณกิจ)  โดย

คุณจิราภรณ์ เหลืองไพรินทร์ ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญา มหาวิทยาลัยขอนแก่น

 

คุณลิขิต และคุณวิศาสตร์ :

อ.นฤศร  มังกรศิลา  หัวหน้างานจัดการความรู้ ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

     จากที่กระผมได้มีโอกาสเข้าร่วม โครงการพี่เลี้ยง (Mentoring Program) จากหน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญา และถ่ายทอดเทคโนโลยีในสถาบันอุดมศึกษา (TLO) โดยศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับมหาวิทยาลัย กิจกรรมที่ 2 จัดอบรม เรื่อง “การยกร่างคำขอสิทธิบัตร และการจัดเตรียมคำขอสิทธิบัตร”  ในวันพฤหัสบดีที่ 26 พ.ย. 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคารเรือนปัญญา คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร พี่เลี้ยงโดยคุณจิราภรณ์  เหลืองไพรินทร์ ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญา มหาวิทยาลัยขอนแก่น สามารถสรุปประเด็นสำคัญ และมีขั้นตอนดังนี้

อ่านเพิ่มเติม ได้ที่ลิงค์นี้ –>> การยกร่างคำขอสิทธิบัตรอย่างไรให้รอบเดียวผ่าน

เครดิตภาพ : GovFunda

 




บันทึกเรื่องเล่า เรื่อง แนวทางการจัดสรรงบประมาณวิจัย และการปรับตัวของนักวิจัยในระบบ ววน. แบบใหม่แนวทางการจัดสรรงบประมาณวิจัย และการปรับตัวของนักวิจัยในระบบ ววน. แบบใหม่

KM HEC RMUTP New logo

ถ่ายทอดความรู้ (คุณกิจ)  โดย

ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง คล้ายหนองสรวง รองผู้อำนวยการ กลุ่มภารกิจบริหารระบบงบประมาณ ววน. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.)

คุณลิขิต และคุณวิศาสตร์ :

อ.นฤศร  มังกรศิลา  หัวหน้างานจัดการความรู้ ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

      จากที่กระผมได้มีโอกาสเข้าร่วมอบรมออนไลน์ เรื่อง แนวทางการจัดสรรงบประมาณวิจัย และการปรับตัวของนักวิจัยในระบบ ววน. แบบใหม่ ในวันอังคารที่ 14 กรกฎาคม 2563 เวลา 9.00 – 12.00 น. บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง คล้ายหนองสรวง รองผู้อำนวยการ กลุ่มภารกิจบริหารระบบงบประมาณ ววน. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) สามารถสรุปประเด็นสำคัญ และมีขั้นตอนดังนี้

      แนวทางการจัดสรรงบประมาณวิจัย และการปรับตัวของนักวิจัยในระบบ ววน. แบบใหม่ เป็นสิ่งที่นักวิจัยต้องปรับตัว เนื่องจากระบบการเบิกจ่ายในงบประมาณวิจัยในรูปแบบเดิมที่เป็นแบบรายปี ส่งผลกระทบกับงานวิจัยที่ต้องการดำเนินการต่อเนื่องในช่วงเวลาที่มากกว่า 1 ปี ดังนั้น…..

อ่านเพิ่มเติม ได้ที่ลิงค์นี้ –>> แนวทางการจัดสรรงบประมาณวิจัย และการปรับตัวของนักวิจัยในระบบ ววน. แบบใหม่

เครดิตภาพ : NYU