Monthly Archives: August 2009

มาใช้ Eclipse กับภาษา Java

  มาใช้ Eclipse กับภาษา Java           Eclipse เป็นชุมชนของ โปรแกรม open source เพื่อเพิ่มความสามารถของการพัฒนา software โดยทั่วไปจะรู้จักว่าเป็น Java IDE แต่จริงแล้วจะใช้กับงานหรือภาษาอื่น ๆ ได้ด้วย เริ่มต้นด้วยการไป download โปรแกรมมาก่อน ที่นี่ http://www.eclipse.org/downloads/ จะมี Eclipse หลายตัวให้เลือก ในที่นี้จะเขียนถึงตัวนี้ Eclipse IDE for Java Developers (92 MB) เมื่อเลือกแล้วจะมี Mirror site ให้เลือกอีก มีของประเทศไทยด้วย แต่ลอง click เข้าไปแล้วใช้ไม่ได้ (13 สค. 2552) ก็เลือกซัก 1 link จะได้ file สำหรับติดตั้งมาชื่อ eclipse-java-galileo-win32.zip (Size: 96 Mb) download เสร็จแล้วก็คลาย file ออก (Unzipped) ถ้าเลือก Folder เป็น C: จะได้ files ทั้งหมดอยู่ที่ C:eclipse เมื่อเปิด Folder นี้ double click file ชื่อ eclipse.exe จะได้       ต่อมาจะมาที่นี่     Continue reading →

มาใช้ Array เก็บข้อมูลคนละชนิดกัน ในภาษา Java

  มาใช้ Array เก็บข้อมูลคนละชนิดกัน ในภาษา Java           มาเขียนถึงเรื่อง Array ในภาษา Java อีกครั้ง โดยทั่วไปการใช้ array เก็บข้อมูลนั้น ลักษณะของข้อมูลที่เก็บจะต้องเป็นชนิดเดียวกัน แต่ถ้าปัญหาต้องการเก็บข้อมูลคนละชนิดกัน ทำอย่างไร ดูปัญหาก่อน ว่าบังคับให้ใช้ array ตัวเดียวกันไหมถ้าไม่ทำง่าย ๆ ก็เก็บ ข้อมูลแต่ละชนิดไว้ใน array แต่ละตัว ตัวอย่างแรกแบบง่าย ๆ ก่อน สมมุติปัญหา ต้องการอ่านชื่อ นศ. และคะแนนสอบของแต่ละคน  สมมุติมี นศ. 2 คน แต่ละคนสอบ 2 วิชา ใช้ array แบบ 1 มิติ   import java.util.Scanner;   class prac03 { static final int MAX_N=2; static final int MAX_S=2;   public static void main(String[] args)   {   String name[] = new String[MAX_N];   int sj1[] =new int[MAX_S];   int sj2[] =new Continue reading →

ใช้ GUI คำนวณหาเกรด ในภาษา Java

  ใช้ GUI คำนวณหาเกรด ในภาษา Java   ตัวอย่างแรกแบบง่าย ๆ ก่อน คิด 3 เกรด นศ. 3 คน 81 – 100 เกรด A 51 –   80 เกรด B 0   –   50 เกรด C   import javax.swing.JOptionPane;   public class Test1 { public static void main( String args[] ) { String a, m=""; int b=0; char grade;           for(int i = 0; i < 3; i++){           m =   String.format("Enter Student #%d's Score ?:",i+1 );                     a = JOptionPane.showInputDialog( m);                     b = Integer.parseInt(a) ;                 Continue reading →

Array ของวัตถุในภาษา Java (Array of objects)

  Array ของวัตถุในภาษา Java (Array of objects)           ทุกคนที่เขียน Java มาแล้วคงรู้จัก โครงสร้างข้อมูลแบบ Array ทั้ง 1, 2 หรือ 3 มิติ (Dimensions) (หรือตัวเลขต่อท้าย - subscripts) โดยทั่วไปชนิดของข้อมูลที่นำมาใช้จะเป็นข้อมูลพื้นฐาน (Primitive data types) ที่จะเขียนในตอนนี้คือ array ของ วัตถุ (Objects) ตัวอย่างเริ่มสร้าง class ของ object ขึ้นมาก่อน   public class Xyz { private int score;           public Xyz(int n) //Constructor           {                     score = n;           }           int getScore()           {                    return score;           } }     Compile ซะให้เรียบร้อย ต่อมาก็สร้าง สร้าง object และเรียกใช้งาน เขียนให้ดู 2 แบบคือ object ธรรมดา 3 Continue reading →

แนะนำสื่อธรรมะ ทาง Internet ของหลวงพ่อปราโมทย์

แนะนำสื่อทาง Internet ของหลวงพ่อปราโมทย์ครับ Website หลักก็คือ www.wimutti.net บนมือถือก็ที่นี่ครับ www.wimutti.net/mobile ถ้าต้องการอ่านหรือฟังธรรมะสั้น ๆ หลากหลายแง่มุมไม่ใช้เวลามาก ก็ต้องที่นี่ครับ วิมุตติ ติดปีก }-W-{ (wimutti) on Twitter http://twitter.com/wimutti บนมือถือก็ใช้ได้นะ http://m.twitter.com/wimutti อีกที่ http://wiz.wimutti.net/ เปลี่ยนรูปแบบในการนำเสนอธรรมะของหลวงพ่อ เป็นหมวดหมู่เช่น หมวดหัวข้อหลัก (Headline)   หลักการปฏิบัติและสัมมาสมาธิ. เป็นอย่างไร? สำคัญแค่ไหน มีอะไรบ้าง สรุปการวิปัสสนา 3 อย่าง สมาธิควบปัญญา, สมาธินำปัญญา(พระป่า), ปัญญานำสมาธิ (ดูจิต) วิธีเจริญปัญญา(วิปัสสนา)แบบปัญญานำสมาธิ(ดูจิต) แท้จริงแล้วคืออะไร มีหลักการภาวนาเช่นไร วิธีเจริญปัญญา(วิปัสสนา)แบบสมาธิควบปัญญาและสมาธินำปัญญา(แนวพระป่า) มีหลักการทำอย่างไร? ถึงถูกต้อง หลักการทำสมถะ การทำสมถะที่ถูกต้อง มีหลักอย่างไรในการฝึก? สัมมาสมาธิ สัมมาสมาธิแท้จริงเป็นอย่างไร สำคัญแค่ไหน ทางเข้าถึงธรรมะ ภาวนาถึงอะไร จึงถึงธรรม ธรรมชาติของจิต จิตมีธรรมชาติเฉพาะ ธรรมชาติของจิตเป็นอย่างไร? (คัดลอกมาจาก Website http://wiz.wimutti.net/ ครับ)   นอกจากนี้ยังมี คำแนะนำ (Dhamma Recommends-คำrecommend มันเป็น verb นี่และเป็นแบบ transitive ด้วบทำไมมาใช้แบบนี้นะ, ผู้เขียน blog) ตัวอย่างเช่น   หลักการภาวนา การภาวนาในศาสนาพุทธมีหลากหลายวิธี แต่ทุกวิธีมีหลักการที่เหมือนกันอย่างไร สัมมาทิฎฐิ อะไรเรียกว่าสัมมาทิฎฐิ สัมมาทิฎฐิเกิดจากการภาวนาได้อย่างไร คำสอน 3 ขั้นตอนของวัดป่า ปฏิปทาของวัดป่า Continue reading →

ลิสต์ (Lists) ใน Turbo Prolog

วันนี้ว่ากันเรื่องภาษา Prolog บ้าง ดูเรื่องของรายการ (Lists, ลิสต์) แล้วกัน เริ่มแรกรู้จักลักษณะของ ลิสต์ ใน Prolog กันก่อน ตัวอย่าง [1, 2, 3, 4], [a, d, x, b, s], [“Wichar”, “Somsri”, “Susan Ann”]  ให้สังเกตลิสต์แรก 1 จะเป็นตัวแรกของลิสต์ เรียกว่าหัวของลิสต์ (Head) ที่เหลือ [2, 3, 4] คือลิสต์ของหาง (Tail) Turbo Prolog จะใช้เครื่องหมาย | (เรียกว่า vertical bar) เพื่อแยกส่วนหัวและหาง ตัวอย่าง [X|Y] X คือ ส่วนหัว และ Y คือหาง ตัวอย่าง ถ้ามีเป้าประสงค์ (Goal) test([X|Y]) และมีค่าความจริง (Fact) test(a, b, c, d) ค่าของ X จะหมายถึง a ค่าของ Y คือ ลิสต์ [b, c, d] การเทียบค่าของ list [X, Y, Z] กับ [susan, read, book] X=susan, Y=read, Continue reading →

Backtracking ใน Turbo Prolog

 สมมุติปัญหาต้องการจับคู่ นักเรียนมาแข่งขันตอบปัญหาโดยที่จะต้องมีอายุเท่ากันตัวอย่าง ค่าความจริง (facts) ของนักเรียนในห้อง domains           learner = symbol            age = integer predicates            student(learner, age) clauses             student(wichai, 21).             student(somsak, 19).             student(somsri, 21).             student(somchai, 21).  ให้จับคู่นักเรียน อายุ 21 ปี มาแข่งขันกัน 2 รอบ กำหนดเป้าประสงค์ (goal) แบบผสม (compound goal) ซึ่งจะมีเป้าประสงค์ย่อย (subgoals) หลาย ๆ เป้าประสงค์ดังนี้ student(Who1, 21) and student(Who2, 21) and Who1 <> Who2.  โตยที่ Who1 และ Who2 เป็นคนละคนกัน การทำงานของ Turbo Prolog จะหาคำตอบจากเป้าประสงค์ย่อย (subgoal) อันแรก และจะหาจากเป้าประสงค์ย่อยอื่นต่อไปก็ต่อเมื่อ เจอเป้าประสงค์ย่อยแรกแล้ว จากตัวอย่าง Who1 คือ wichai Turbo Prolog จะหาเป้าประสงค์ย่อยอื่นต่อไป คือ student(Who2, 21) จะได้ Who2 มีค่าเป็น wichai ด้วย Continue reading →