::: บันทึกเรื่องเล่า ::: เรื่อง การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วงวิกฤตการณ์ COVID-19

KM HEC RMUTP New logo

ถ่ายทอดความรู้ (คุณกิจ)  โดย

อาจารย์นิอร ดาวเจริญพร รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

คุณอำนวย : 

ทีมงานคุณภาพ ฝ่ายวิชาการและวิจัย

คุณลิขิต และคุณวิศาสตร์ :

อาจารย์นฤศร  มังกรศิลา  หัวหน้างานจัดการความรู้ ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

      ชุมชนคนโชติเวช เรื่อง การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ในช่วงวิกฤตการณ์ COVID-19 ในวันพุธที่ 8 เมษายน 2563 เวลา 10.30 – 15.00 น. ณ สามารถสรุปประเด็นสำคัญ และมีขั้นตอนดังนี้

       อาจารย์นิอร  ดาวเจริญพร รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ได้เป็นผู้นำการถ่ายทอดองค์ความรู้สำหรับชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ชุมชนคนโชติเวช เรื่อง การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ในช่วงวิกฤตการณ์ COVID-19 และการใช้โปรแกรม Google Classroom เบื้องต้น ให้กับบุคลากรในฝ่ายวิชาการและวิจัย รวมถึงบุคลากรคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสนุกสนาน ….

 

อ่านเพิ่มเติม ได้ที่ลิงค์นี้ –>> การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วงวิกฤตการณ์ COVID-19

เครดิตภาพ : race agency

 




::: บันทึกเรื่องเล่า ::: เรื่อง มุมมองใหม่...วิจัยเชิงคุณภาพ

KM HEC RMUTP New logo

ถ่ายทอดความรู้ (คุณกิจ)  โดย

รองศาสตราจารย์ ดร.องอาจ  นัยพัฒน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คุณลิขิต และคุณวิศาสตร์ :

อ.นฤศร  มังกรศิลา  หัวหน้างานจัดการความรู้ ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

      จากที่กระผมได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับการวิจัยเชิงคุณภาพ นักวิจัยจะต้องปรับเปลี่ยนมุมมองใหม่ที่มีต่อการวิจัยเชิงคุณภาพ สามารถสรุปได้ ดังนี้

      รองศาสตราจารย์ ดร.องอาจ  นัยพัฒน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ไว้อย่างน่าสนใจว่าการวิจัยที่ต้องการค้นหาความจริงทั้งจาก “เหตุการณ์สภาพแวดล้อมตามความเป็นจริง” ซึ่งมี การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อม เป็นหัวใจหลักของการวิจัย เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ (Insight) ………………..

 

อ่านเพิ่มเติม ได้ที่ลิงค์นี้ –>> มุมมองใหม่…วิจัยเชิงคุณภาพ

เครดิตภาพ :

 




::: สกัดความรู้ ::: CDIO - Finland Model

KM HEC RMUTP New logo

ถ่ายทอดความรู้ (คุณกิจ) โดย

ผศ.ณนนท์ แดงสังวาลย์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร

และ อ.ฉัตรยา งามเลิศ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ (วิทยากรสุดเจ๋ง)

คุณลิขิต และคุณวิศาสตร์ : อ.นฤศร  มังกรศิลา  หัวหน้างานจัดการความรู้

คุณเอื้อ และคุณอำนวย :: ฝ่ายวิชการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร (ทีมงานคุณภาพ)

ศึกษาเพิ่มเติม ตามลิงค์นี้

     จากที่กระผมได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ “หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ด้านการสอนระดับมหาวิทยาลัย” (Professional Development Training Course – University Pedagogy) วันจันทร์ที่ 10 มิถุนายน 2562 ณ ห้องราชาวดี ชั้น 2 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.พระนคร สามารถสรุปประเด็นสำคัญได้ดังนี้

เนื่องด้วยคุณกิจทั้ง 2 ท่าน คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณนนท์ แดงสังวาลย์ และนางสาวฉัตรยา งามเลิศ ต้องการให้ผู้เข้าร่วมชุมชนนักปฏิบัติได้ประเด็นความรู้ที่ครบถ้วน จึงใช้วิธีการบรรยาย สลับกับการทำ Workshop เช่น Workshop การอภิปรายถึงเรื่องทฤษฏีกับการปฏิบัติอะไรสำคัญกว่ากัน และ Workshop การวิเคราะห์ตนเองเพื่อเตรียมการสอนด้วย KWL Strategy

       โดยเริ่มจากมุมมองของอาจารย์ผู้สอน……..

อ่านเพิ่มเติม ได้ที่ลิงค์นี้ –>> “หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ด้านการสอนระดับมหาวิทยาลัย” (Professional Development Training Course – University Pedagogy)

ที่มาภาพ : cdio.fi

 




สกัดความรู้ : นักวิจัยในศตวรรษที่ 21

 

KM HEC RMUTP New logo

ถ่ายทอดความรู้ (คุณกิจ) โดย

รศ.ดร.ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ

วุฒิเมธีวิจัย สกว.

และหัวหน้าโครงการการพัฒนาฐานข้อมูลวารสารวิชาการในประเทศ

คุณลิขิต และคุณวิศาสตร์ : อ.นฤศร  มังกรศิลา  หัวหน้างานจัดการความรู้

–>> นักวิจัยในศตวรรษที่ 21

      จากที่กระผู้ถ่ายทอดความรู้ได้ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ นักวิจัยในศตวรรษที่ 21 สามารถสรุปประเด็นสำคัญได้ดังนี้

      ตามประสบการณ์จริงของผู้ถ่ายทอดความรู้ “เส้นทางสู่นักวิจัยในศตวรรษที่ 21…เป็นจริงหรือเพียงฝัน ?” มีคำสำคัญอยู่ 2 คำ คือคำว่า นักวิจัยในศตวรรษที่ 21…. และ ….เป็นจริงหรือเพียงฝัน คำแรกคือคำว่า “นักวิจัยในศตวรรษที่ 21….” น่าจะหมายถึง คนที่มีอาชีพเป็นนักวิจัย และเมื่อเราพูดถึงคำว่า “อาชีพ” ก็ต้องหมายความถึง กิจกรรมหลักที่คนๆ หนึ่งต้องทำเพื่อนำมาซึ่งรายได้หลักสำหรับหาเลี้ยงตนเองและครอบครัว จนเกิดเป็นความเชี่ยวชาญและ

อ่านเพิ่มเติม ได้ที่ลิงค์นี้ –>> นักวิจัยในศตวรรษที่ 21

ที่มาภาพ :  The Chronicle of Higher Education