Category: Case Study VDO

::: KM Weekly - MOOC ::: 😉😉 เรื่อง E-Wallet นวัตกรรมทางการเงิน ช่วงที่ 2

 

##################################
รายการ KM Weekly ตอนที่ 151 ช่วงที่ 2
(ออกอากาศวันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน 2561)
ผู้จัดรายการ : นฤศร มังกรศิลา
#################################
ขอบคุณ :
สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 90.75 MHz
คลื่นสั่งสมปัญญา พัฒนาสังคม
และ
ข้อมูลดีๆ จาก Disruptive Innovation
แปลโดย : นฤศร มังกรศิลา

KM Weekly - เรื่อง แผนที่วิวัฒนาการของนวัตกรรม ช่วงที่ 1

######################
รายการ KM Weekly ตอนที่ 150 ช่วงที่ 1
(ออกอากาศวันอาทิตย์ที่ 4 พฤศจิกายน 2561)
ผู้จัดรายการ : นฤศร มังกรศิลา
######################
ขอบคุณ :
สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 90.75 MHz
คลื่นสั่งสมปัญญา พัฒนาสังคม
และ
ข้อมูลดีๆ จาก Disruptive Innovation
แปลโดย : นฤศร มังกรศิลา

KM Weekly - เรื่อง แผนที่ยุคสมัย เพื่อพัฒนานวัตกรรม ช่วงที่ 1

รายการ KM Weekly ตอนที่ 149 ช่วงที่ 1 (ออกอากาศวันอาทิตย์ที่ 21 ตุลาคม 2561) ผู้จัดรายการ : นฤศร มังกรศิลา ###################### ขอบคุณ : สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 90.75 MHz คลื่นสั่งสมปัญญา พัฒนาสังคม และ ข้อมูลดีๆ จาก Disruptive Innovation แปลโดย : นฤศร มังกรศิลา

KM Weekly - เรื่อง แผนที่ยุคสมัย เพื่อพัฒนานวัตกรรม ช่วงที่ 2

รายการ KM Weekly ตอนที่ 149 ช่วงที่ 2 (ออกอากาศวันอาทิตย์ที่ 21 ตุลาคม 2561) ผู้จัดรายการ : นฤศร มังกรศิลา ###################### ขอบคุณ : สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 90.75 MHz คลื่นสั่งสมปัญญา พัฒนาสังคม และ ข้อมูลดีๆ จาก Disruptive Innovation แปลโดย : นฤศร มังกรศิลา

รายการ KM Weekly ตอนที่ 139 ช่วงที่ 1 (ออกอากาศวันอาทิตย์ที่ 19 สิงหาคม 2561) ผู้จัดรายการ : นฤศร มังกรศิลา ###################### ขอบคุณ : สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 90.75 MHz คลื่นสั่งสมปัญญา พัฒนาสังคม และ ข้อมูลดีๆ จากวารสาร OKMD ######################

KM Weekly - เรื่อง การสร้างกระบวนการนวัตกรรม

Credit : รายการ KM Weekly (ออกอากาศ มิ.ย. 2561) ผู้จัดรายการ : อ.นฤศร มังกรศิลา ###################### ขอบคุณ : สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 90.75 MHz คลื่นสั่งสมปัญญา พัฒนาสังคม และ ข้อมูลดีๆ จาก 101 Design Thinking

KM Weekly - เรื่อง แนวทางความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชน เพื่อขับเคลื่อนการจัดการความรู้

รายการ KM Weekly ตอนที่ 120 ช่วงที่ 1 (ออกอากาศวันอาทิตย์ที่ 8 เมษายน 2561) ผู้จัดรายการ : อ.นฤศร มังกรศิลา ###################### ขอบคุณ : สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 90.75 MHz คลื่นสั่งสมปัญญา พัฒนาสังคม และ ข้อมูลดีๆ จากวารสารการศึกษาไทย ######################

KM Weekly - เรื่อง ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่พัฒนาความสัมพันธ์ลูกค้าในธุรกิจร้านอาหาร ช่วงที่ 1

รายการ KM Weekly ตอนที่ 145 ช่วงที่ 2 (ออกอากาศวันอาทิตย์ที่ 30 กันยายน 2561) ผู้จัดรายการ : นฤศร มังกรศิลา ###################### ขอบคุณ : สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 90.75 MHz คลื่นสั่งสมปัญญา พัฒนาสังคม และ ข้อมูลดีๆ จากวารสารจันทรเกษมสาร นฤศร มังกรศิลา และนุจรี  บุรีรัตน์.  2561.  การบริหารลูกค้าสัมพันธ์เพื่อให้ได้ข้อมูลย้อนกลับที่ดีจากพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และสื่อสังคมออนไลน์ในธุรกิจร้านอาหาร. วารสารจันทรเกษมสาร, 24(46), มกราคม – มิถุนายน 2561, หน้า 65-81. ที่มา : https://www.tci-thaijo.org/index.php/… ######################

 

KM Weekly - เรื่อง ลักษณะการบริการในธุรกิจร้านอาหารที่ดีเพื่อให้ได้ข้อมูลย้อนกลับ ช่วงที่ 2

รายการ KM Weekly ตอนที่ 140 ช่วงที่ 2 (ออกอากาศวันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน 2561) ผู้จัดรายการ : นฤศร มังกรศิลา ###################### ขอบคุณ : สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 90.75 MHz คลื่นสั่งสมปัญญา พัฒนาสังคม และ ข้อมูลดีๆ จากวารสารจันทรเกษมสาร นฤศร มังกรศิลา และนุจรี  บุรีรัตน์.  2561.  การบริหารลูกค้าสัมพันธ์เพื่อให้ได้ข้อมูลย้อนกลับที่ดีจากพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และสื่อสังคมออนไลน์ในธุรกิจร้านอาหาร. วารสารจันทรเกษมสาร, 24(46), มกราคม – มิถุนายน 2561, หน้า 65-81. ที่มา : https://www.tci-thaijo.org/index.php/… ######################

[su_youtube url=”http://www.youtube.com/watch?v=ZYmH6buwoeY”]http://youtu.be/ZYmH6buwoeY[/su_youtube]
2 นักศึกษาฮาร์วาร์ด ผุดไอเดียเจ๋งทำเค้กสเปรย์ นวัตกรรมใหม่ในการทำเค้กสุดง่าย เพียงแค่บีบใส่ถ้วยแล้วเข้าไมโครเวฟ ก็ได้เค้กเนื้อนุ่มสดใหม่ไว้กินเล่นแล้ว
            จอห์น แมคแคลลัม และบรูค โนวาโควสกี 2 นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ได้ร่วมกันคิดค้นเค้กสเปรย์ เป็นทางเลือกใหม่ในการทำเค้กกินเองง่าย ๆ แค่มีไมโครเวฟ เพียงบีบเค้กสเปรย์ลงในพิมพ์แล้วนำไปเข้าไมโครเวฟ 1 นาทีก็จะได้เค้กเนื้อนุ่ม รสชาติอร่อย แบบสดใหม่แล้ว
           โดย จอห์น แมคแคลลัม ผู้คิดค้นเค้กสเปรย์มีแนวคิดเกิดขึ้นมาจากเมื่อตอนปี 1 ในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เขาได้เห็นคนใช้กระบอกวิปปิ้งครีมในชั้นเรียน เลยปิ๊งไอเดียคิดจะลองทำเค้กสเปรย์ดูบ้าง จากนั้นเลยนำไอเดียมาพัฒนาร่วมกับบรูค โนวาโควส์ เพื่อนสาว จนกลายมาเป็นเค้กสเปรย์ และคว้ารางวัลชนะเลิศจาก Harvard College Innovation Challenge 2014 มาครองอีกด้วย
            ซึ่งเค้กสเปรย์นี้เป็นการพัฒนาการทำเค้กสำเร็จรูปให้ก้าวขึ้นไปอีกขั้น โดยส่วนผสมเค้กที่ใช้ก็จะคล้ายกับแป้งเค้กสำเร็จรูปทั่ว ๆ ไป แต่ไม่มีเบกกิ้งโซดา หรือผงฟู แต่จะอาศัยแรงอัดของแก๊สจากกระบอกเป็นตัวทำให้ขนมขึ้นฟูโดยไม่ต้องใช้สารเสริมช่วยให้เค้กขึ้นฟูแต่อย่างใด และนอกจากจะสามารถนำไปทำให้สุกง่าย ๆ ด้วยไมโครเวฟได้แล้ว ยังสามารถนำไปอบในเตาอบ หรือในกระทะได้อีกด้วย
            ส่วนใครที่อยากซื้อเค้กสเปรย์แบบนี้มาใช้ ในเมืองไทยยังไม่มีขาย แต่ไม่แน่ว่า ในอนาคตอันใกล้นี้เราอาจจะได้เห็นเค้กสเปรย์ไอเดียเจ๋ง ๆ แบบนี้ มาวางขายอยู่ในท้องตลาดบ้านเราบ้างก็เป็นได้ คราวนี้การทำเค้กกินเองที่บ้านก็จะไม่ใช้เรื่องยากอีกต่อไปแล้ว
ที่มา : กระปุกดอมคอม

 

75_200804161707341. (1)
เทคโนโลยีปาล์มซีเคียว ในรูปแบบการระบุตัวตนด้วยการสแกนเส้นเลือดดำ เป็นผลงานการคิดค้นของบริษัท ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บิสซีเนส
ที่เริ่มต้นพัฒนาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 …

สำหรับกรรมวิธีในการสแกนเส้นเลือดดำ จะใช้แสงที่มีความยาวคลื่นประมาณ 760 นาโนเมตรใกล้เคียงกับแสงอินฟราเรด เมื่อฝ่ามือถูกฉายด้วยแสง ภาพที่ได้จะแตกต่างจากภาพที่สายตาของคนเรามองเห็นภายใต้แสงปกติ โดยภาพที่ถ่ายภายใต้แสงที่ใกล้เคียงกับแสงอินฟราเรดและรูปแบบของเส้นเลือดดำที่ได้ จะถูกนำไปสร้างเป็นรูปแบบที่ต้องการ โดยการประมวลผลรูปภาพและเก็บเอาไว้ ซึ่งการเก็บข้อมูลเส้นเลือดดำสามารถเก็บไว้บนเซิร์ฟเวอร์ หรือจะเก็บไว้ในบัตรประจำตัวก็ได้ ข้อจำกัดในการใช้งานอยู่ที่ เวลาสแกนหากมีแสงไฟ หรือ แสงสว่างจากธรรมชาติมาตกกระทบมากเกินไป อาจทำให้การอ่านผิดพลาดได้ ในประเทศญี่ปุ่น การระบุตัวตนด้วยการสแกนเส้นเลือดดำ ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับหนึ่ง เพราะเป็นการระบุตัวตนโดยใช้ข้อมูลเฉพาะที่อยู่ภายในร่างกาย ปลอมแปลงได้ยาก ประชาชนกว่า 97-98% สามารถใช้งานได้ ต่างจากการสแกนลายนิ้วมือที่จะมีปัญหามากสำหรับผู้ที่ต้องทำงานกับสารเคมี ซึ่งทำให้ลายนิ้วมือเลือนราง ที่สำคัญเวลาใช้งานไม่ต้องสัมผัสกับเครื่อง ป้องกันการติดเชื้อโรค เหมาะกับการใช้งานในสถานที่ที่มีความเสี่ยง เช่น โรงพยาบาล และปัจจุบันญี่ปุ่นนำเทคโนโลยีการสแกนเส้นเลือดดำไปติดไว้กับเครื่องกดเงินเอทีเอ็ม กว่า 40 แห่ง เพื่อยืนยันการเป็นเจ้าของบัตรเอทีเอ็มคู่กับการกดรหัสผ่านแล้ว ระบบนี้ไม่จำกัดว่ามือเล็ก หรือมือใหญ่ ขอให้มีเส้นเลือดดำเป็นพอ

ที่มา : http://technology.thaiza.com/